คณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐภายใต้การกำกับดูแลของสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมมีพื้นที่จัดการศึกษา3 ศูนย์พื้นที่คือ ศูนย์พระนครศรีอยุธยาหันตรา ศูนย์นนทบุรี และศูนย์สุพรรณบุรี ประกอบด้วย 4 สาขาวิชา คือ สาขาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการคำนวณ สาขาวิชาเทคโนโลยีดิจิทัลและสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
ประกาศคณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี
ประกาศรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาคุณสมบัติ ขั้นตอน กำหนดการ และวิธีการสมัคร เพื่อให้ผู้สนใจสมัครได้ตามกำหนด
ประกาศนี้รายชื่อผู้ที่ผ่านการพิจารณาคุณสมบัติและได้รับสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาต่อ
ประกาศรายชื่อผู้ที่สอบผ่านและได้รับสิทธิ์เข้าศึกษาในหลักสูตรที่สมัคร
ติดตามข่าวสารการรับสมัครงานของคณะวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยีได้ที่ช่องทางนี้
อ่านข่าวล่าสุด
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ จัดโครงการพัฒนาบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจําปี พ.ศ. 2568 ระหว่างวันที่ 13 – 15 พฤศจิกายน 2567 ณ โรงแรมเอกไพลิน ริเวอร์แคว จังหวัดกาญจนบุรี
วันที่ 13 พฤศจิกายน 2567 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจษฎา จันทร์ผา คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ได้จัดโครงการ ฯ และเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการพัฒนาบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ประจําปี พ.ศ. 2568 โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้ และความเข้าใจแก่บุคลากรเกี่ยวกับการ จัดการเรียนการสอนที่ทันสมัยในยุคไทยแลนด์ 4.0 และตอบสนองต่อความต้องการของสถานศึกษาและ ผู้ประกอบการในปัจจุบันและอนาคต 2. เพื่อให้แนวคิดแก่บุคลากรเกี่ยวกับการสร้างวิสัยทัศน์และทัศนคติที่ดี ต่อตัวเอง องค์กร...
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกพนักงานจ้างเหมาบริการพนักงานขับรถยนต์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการคัดเลือกพนักงานจDownload
บทความวิชาการ วิจัย และนวัตกรรม
ความเชี่ยวชาญ
Actinomycetes. Taxonomy. Microbial application. Agriculture. (more…)
ความเชี่ยวชาญ
Data Mining. Crowd-Sourcing. Educational Data Mining. Learning Management System. Natural Language Processing.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Hydrogel. thin films. thermoresponsive polymers. biopolymers. materials.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Organic Chemistry. Nucleic Acid Chemistry. Natural Product Development. Antioxidant Chemistry. Liquid Chromatography.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Statistical Data Analysis. Medical Statistics. Epidemiologic Studies. Meta Analysis. Longitudinal.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Biotechnology. Microbiology. Phycology. Fungi. Genetics.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Electroceramics. Ferroelectric materials. Energy Harvesting.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Blockchain. Artificial Intelligence.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Computational Chemistry. Conducting Polymer. Antioxidant Chemistry.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Modelling. Modelling for Infectious Disease. Differential Equations. Mathematics.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
gas sensorelectronic nosefunctional materialsmaterials science
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Chemistry
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
สาขา สถิติประยุกต์
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
ฟิสิกส์ นิวเคลียร์เทคโนโลยี วัสดุพลังงานทดแทน
ฟิลม์บาง
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Renewable Energy. Thermoelectric Materials. Materials Science.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
materials and nanotechnology.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Physics ScienceMaterials. Science and Engineering. Innovation and Healthcare. Internet of Things & Wireless Sensor Networks.
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
Energy and Optoelectronic Materials
(more…)
ความเชี่ยวชาญ
biology.
(more…)
เล่มที่ 1 เดือน ธันวาคม 2566
เล่มที่ 2 เดือน ธันวาคม 2566
เล่มที่ 1 เดือน มกราคม 2567
เล่มที่ 1 เดือน กุมภาพันธ์ 2567
คลังความรู้วิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี
การสร้างภาพ AI ง่ายๆ ด้วย Bing image creator
Bing image creator เป็นแอฟพลิเคชั่น ใช้สำหรับสร้างภาพที่ต้องการ ด้วยการพิมพ์ข้อความบรรยายภาพ หรือเหตุการณ์ต่างๆ ที่ต้องการ รวมถึงรายละเอียดอื่นๆ เพื่อให้แอปพลิเคชันช่วยสร้างภาพพื้นหลัง...
Data Visualization ด้วยGoogle Data Studio ผู้เขียน ดร.เสาวลักษณ์ ลีลาวงศาโรจน์
เสาวลักษณ์-Data-Visualization-ด้วย-Google-Data-StudioDownload
การใช้งานโปรแกรม Mendeley เพื่อสร้างบรรณานุกรมอัตโนมัติสำหรับงานวิจัย ผู้เขียน ผศ.ภิญญาพัชญ์ ทาสาธนัตย์ตระกูล
ผศ.ภิญญาพัชญ์-การใช้งานโปรแกรม-Mendeley-เพื่อสร้างบรรณานุกรมอัตโนมัติสำหรับงานวิจัยDownload
Design & Create Media with CAPCUT
มัลติมีเดียจะเป็นนวัตกรรมตัวหนึ่ง ที่มีการเติบโตรวดเร็ว ทุกองค์กรต้องการ เป็นตัวแปรในการสร้างแผนธุรกิจ องค์กรสามารถสร้างสรรรค์สื่อดิจิทัลที่ใช้ต้นทุนต่ำลง ทำให้ปัจจุบันราคาของสื่อดิจิทัลจะถูกลงอย่างมาก ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์สามารถเข้าถึงผู้ใช้งาน ส่วนด้านประสิทธิภาพของภาพ เสียง และวิดีทัศน์ที่พัฒนาขึ้นกลับมีคุณภาพสูงขึ้น...
เอกลักษณ์ (Uniqueness)
“แหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มุ่งสร้างนวัตกรรม”
อัตลักษณ์ (Identity)
“บัณฑิตนักนวัตกรรม ที่บริหารจัดการนวัตกรรมได้
ค่านิยม (Values)
S –> Synergy = มีความร่วมมือร่วมใจ
C –> Change = พร้อมปรับตัวสำหรับการเปลี่ยนแปลง
I –> Intelligent and Innovation = มีความฉลาดและสร้างนวัตกรรมได้
SCI –> การร่วมมือร่วมใจกันสร้างนวัตกรรมอย่างชาญฉลาดเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่
คุณธรรมอัตลักษณ์ (Moral Identity)
“ความรู้ดี จิตอาสา มีวินัยและคุณธรรม”
เปลี่ยนมุมคิด
เปลี่ยนมุมคิด ประเด็น : จับตา มหาวิทยาลัยไทยในวันเปลี่ยนผ่าน ประเด็น แขกรับเชิญ : ผศ.ดร.เจษฎา จันทร์ผา คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ